วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แบบทดสอบจุดประสงค์ 5

แบบทดสอบเรื่อง หลักการฟังและการดูสื่อ
ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่อ
โดย ด.ญ.สุทธิณี บูรณะและ ด.ญ.แสงดาว โพธิ์วัง
คำสั่ง เลือก เติมคำตอบที่ถูกต้องที่สุด


ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่อ
โดย ด.ญ.สุทธิณี บูรณะและ ด.ญ.แสงดาว โพธิ์วัง
คำสั่ง เลือก เติมคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
ข้อที่ 1)

ข้อใดหมายถึงเรื่องราวหรือเนื้อหาสาระซึ่งมีหลายประเภท
   สื่อ
   สาร
   ผู้รับสาร
   ผู้ส่งสาร

ข้อที่ 2)
ข้อใดไม่ใช้จุดประสงค์หลักของการฟังสื่อ
   ฟังนิทานเพื่อนำมาเล่าต่อ
   ฟังพยากรณ์อากาศทางโทรทัศน์
   ฟังเพลงทางวิทยุเพื่อความบันเทิง
   ดูโฆษณาสินค้าทางอินเทอร์เน็ตเพื่อเปรียบเทียบราคา

ข้อที่ 3)
ข้อความต่อไปนี้เป็นการพูดที่มีจุดมุ่งหมายใด “ไขหวัดนกเป็นโรคร้ายแรงอาจถึงแก่ชีวิตได้โปรดช่วยดูแลสุขภาพของลูกหลายและคนชราเพื่อให้รอดพ้นจากไข้หวัดนกด้วยการไม่คลุกคลีกับไก่และนกที่เป็นโรคา
   โน้มน้าวใจ
   จรรโลงใจ
   ให้ข้อเท็จจริง
   สร้างไมตรี

ข้อที่ 4)
ข้อใดไม่ใช้ความสำคัญของการฟังและการดูสื่อ
   ช่วยพัฒนาจิตใจ
   ช่วยให้ใช้สื่อได้ชำนาญ
   ช่วยพัฒนาด้านสติปัญญา
   ช่วยให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินใจ

ข้อที่ 5)
ข้อใดไม่ใช่เจตนาในการส่งสาร
   ให้ความรู้
   ให้วิจารณ์
   โน้นน้าวจูงใจ
   ให้ความเพลิดเพลิน

ข้อที่ 6)
บริษัทยืนยันในการดำเนินกิจการ คำว่า จุดยืน มีความหมายตรงตามข้อใด
   ยึดติด
   แน่นหนา
   ความพร้อม
   ภาวะฐานะ

ข้อที่ 7)
ติ๊กบอกหนูว่า เมื่อคืนฝนตกหนักทำให้น้ำท่วมถนนเข้าหมู่บ้านจากสถานการณ์ที่ยกมา นักเรียนคิดว่าสารมีลักษณะอย่างไร เพราะเหตุใด
   เป็นข้อเท็จจริง เพราะมีผู้ส่งสารและผู้รับสาร
   เป็นข้อคิดเห็น เพระเป็นข้อความแสดงทัศนะ
   เป็นข้อเท็จจริง เพราะผู้พูดพูดจากสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วในขณะนั้น
   เป็นข้อคิดเห็น เพราะเป็นสถานการณ์สมมติ

ข้อที่ 8)
สำสวนใดไม่สื่อความหมายถึงการพูด
   พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง
   น้ำร้อนปลาเป็น น้ำเย็นปลาตาย
   น้ำท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง
   น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า

ข้อที่ 9)
ข้อใดเป็นประโยชน์ของการรู้จักเคราะห์แยกแยะสาร
   ผู้รับสารไม่ตกเป็นเหยื่อของสื่อ
   เข้าใจและเชื่อสารที่ได้รับง่ายขึ้น
   ทำให้ทราบว่าสารประเภทใดเหมาะกับตัวเอง
   สามารถจดจำข้อมูลข่าวสารได้ปริมาณมาก

ข้อที่ 10)
การกระทำใดที่แสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีมารยาทในการฟังและดูร่วมกับผู้อื่น
   ฟังหูไว้หู ไม่รู้รีบยกมือขึ้น
   อดทนฟังแม้เป็นเรื่องที่ไม่ชอบ
   แสดงท่าทีให้ชัดเจนว่าชอบหรือไม่ชอบเรื่องที่ฟัง
   พยายามทำหน้าขรึมไม่ให้ผู้พูดรู้ว่ากำลังคิดอะไร


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

comment